ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

     

 

     

 

28-31 พฤษภาคม 2562 กรมวิทยาศาสตร์บริการ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP และ SMEs สนับสนุนการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพัฒนาคุณภาพสินค้าประเภทอาหารและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยนางวรรณดี มหรรณพกุล นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ พร้อมคณะนักวิจัยกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ได้ลงพื้นที่ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการพัฒนากระบวนการผลิตโดยใช้เทคนิคกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย อุตรดิตถ์ และพิษณุโลก

ทั้งนี้คณะนักวิจัยกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มได้ลงพื้นที่ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการผลิตและฆ่าเชื้อจุลินทรีย์อาหารในภาชนะปิดสนิท ได้แก่ การผลิตน้ำพริกปูนา ณ ฟาร์มปูนาชญาดา อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย และการผลิตน้ำมะม่วงพร้อมดื่มบรรจุขวดแก้ว ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะม่วง อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย รวมทั้งได้ให้คำปรึกษาเชิงลึกการพัฒนาคุณภาพสินค้าแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเต้าเจี้ยวบึงพระยอด อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรสามอย่างหมู่เก้าบ้านเสาหิน อำเภอกงไกรลาส จังหวัดสุโขทัย ซึ่งผลิตชาสมุนไพร กลุ่มเกษตรกรเทพพนม อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย ซึ่งผลิตกล้วยแปรรูป กลุ่มวิสาหกิจชุมชนรักษ์ลับแล ผลิตทุเรียนกวน และกลุ่มข้าวพันผัก อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลิตข้าวแคบอบแห้ง รวมทั้งเดินทางไปให้ความรู้ฝึกปฏิบัติการผลิตงาตัดผสมเมล็ดทานตะวัน และสแนคธ้ญชาติผสมน้ำผลไม้ ณ ศูนย์เรียนรู้บ้านท่าโพธิ์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนงาดำและสมุนไพรเพื่อสุขภาพ อำเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลก รวมทั้ง ได้เยี่ยม SMEs จำนวน 2 ราย ในจังหวัดนครสวรรค์ ในวันที่ 31 พฤษภาคม - 1 มิถุนายน 2562 ให้คำแนะนำเทคนิคการยืดอายุลูกชิ้นหมู และลูกชิ้นปลา ได้แก่ ผู้ผลิตลูกชิ้นหมูแบรนด์ เอสลูกชิ้นหมู และลูกชิ้นปลาแม่ศจี ทั้งนี้ผู้ประกอบการโอทอป และ SMEs มีความเห็นว่า การส่งเสริมความรู้ใหม่ และเทคนิคการผลิตแปรรูปอาหารที่ได้รับถ่ายทอด รวมทั้งคำแนะนำในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่นี้เกิดประโยชน์มาก เป็นทางเลือกในการผลิตสินค้าใหม่ หรือช่วยแก้ไขปัญหาคุณภาพและอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์ ซึ่ง SMEs ผู้ผลิตลูกชิ้นใน จังหวัดนครสวรรค์ที่เข้าร่วม โครงการคูปองวิทย์ได้กล่าวขอบคุณที่มีโครงการจากหน่วยงานภาครัฐของกรมวิทยาศาสตร์บริการที่ได้วิจัยพัฒนากระบวนการผลิตทำให้ได้เทคนิคการยืดอายุลูกชิ้น ซึ่งจะช่วยขยายโอกาสต่าง ๆ ได้มากขึ้นด้วย

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักเลขานุการกรม

กรมวิทยาศาสตร์บริการ  กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม