ฐานข้อมูลส่งเสริมและยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP
วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

วศ.อว.ลงพื้นที่ตรวจประเมินการควบคุมคุณภาพการผลิตหน้ากากอนามัยแบบผ้า

                             วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 กลุ่มรับรองคุณภาพผล...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตร “วิทยาศาสตร์การหมักอาหารให้ปลอดภัย” ณ จังหวัดนนทบุรี

                         วันที่ 5 สิงหาคม 2563 กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการ...

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

วศ.อว. ถ่ายทอดเทคโนโลยี “การแปรรูปมะนาว” ณ จังหวัดชลบุรี

                            กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทย...

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

วศ.อว. ลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทอาหาร ณ จังหวัดเพชรบุรี

                          วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ส...

Next Tab

พืชให้สี

สีย้อมธรรมชาติจากพืช (Vegetable Dyes) สีย้อมที่ได้จากพืชจัดเป็นกลุ่มสารสีหลักของสีย้อมธรรมชาติ โดยเป็นสีย้อมที่ได้จากทุกส่วนของพืชทั้ง ราก เปลือก ลำต้น เนื้อไม้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งสีย้อมกลุ่มนี้มีความหลากหลาย สามารถแบ่งโดยใช้กรรมวิธีการย้อมเป็นเกณฑ์ได้ 2 กลุ่มคือ.-

  • การย้อมเย็น หรือการย้อมแบบหมัก เป็นสีย้อมที่ได้จากพืช เช่น ผลมะเกลือ ห้อม และคราม เป็นการย้อมสีจากพืชที่มีกรรมวิธีการย้อมโดยไม่ใช้ความร้อน แต่อาศัยคุณสมบัติธรรมชาติของสารสี และปฏิกิริยาเคมีทางธรรมชาติช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย โดยจะหมักเส้นใยไว้ในน้ำย้อมที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีรายละเอียดวิธีการย้อมที่แตกต่างกันตามชนิดของสารสีที่ได้จากพืช
  • การย้อมแบบร้อน สีย้อมธรรมชาติที่ใช้การย้อมแบบร้อน จะเป็นสีย้อมที่ได้จากพืชทั่วไปและครั่ง โดยจะนำวัตถุดิบย้อมสีมาสับให้ละเอียดแล้วต้มให้เดือดเพื่อสกัดสารสีออกจากพืช จากนั้นจึงทำการย้อมกับเส้นใย จะมีการใช้ความร้อนและสารช่วยย้อมช่วยให้สารสีติดกับเส้นใย

ขมิ้น

ขมิ้น

ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa Linn วงศ์ :&nb...

ขี้เหล็ก

ขี้เหล็ก

ชื่อสามัญ  Siamese senna, Siamese cassia, Cassod tree, Thai copperpod ชื่อวิทยาศาสตร์ ...

ข่า

ข่า

ชื่อสามัญ  Galanga, Greater Galangal, False Galangal ชื่อวิทยาศาสตร์  Alpinia galanga...

คราม

คราม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Indigofera tinctoria Linn. วงศ์ : PAPILIONEAE ชื่อท้องถิ...

คำฝอย

คำฝอย

ชื่อสามัญ แซฟฟลาวเวอร์ Safflower, False Saffron, Saffron Thistle คําฝอย ชื่อว...

ฉำฉา

ฉำฉา

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Samanea saman (Jacg) Merr. วงศ์ : MIMOSACEAE ชื่อท้องถ...

ตะโก

ตะโก

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyios rhodcalyx. วงศ์ : EBENACEAE ชื่อท้องถิ่น...

ติ้ว

ติ้ว

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gratoxylum tormosurn (Jack) Dyer ssp.pruniflorum (Kurz.) Gogelin วงศ์ : GU...

ทองกวาว

ทองกวาว

ชื่อสามัญ : Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree ชื่อวิทยาศาสตร์...

นนทรี

นนทรี

ชื่อสามัญ  Copper pod, Yellow flame, Yellow Poinciana  ชื่อวิทยาศาสตร์  Peltopho...

ประดู่

ประดู่

ชื่อสามัญ Burma Padauk, Narra, Angsana Norra, Malay Padauk, Burmese Rosewood, Andaman Redwood, Amboyna Wood, Indian rosewood...

ฝาง

ฝาง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Caesalpinia sappan Linn. วงศ์ : CAESALPINIACEAE ชื่อท้อง...

พะยอม

พะยอม

ชื่อสามัญ  Shorea, White Meranti  ชื่อวิทยาศาสตร์ Shorea roxburghii G. Don. ว...

มะพร้าว

มะพร้าว

ชื่อสามัญ  Coconut ชื่อวิทยาศาสตร์  Cocos nucifera L. วงศ์ ARECACEAE...

มะพูด

มะพูด

ชื่อสามัญ  Garcinia  ชื่อวิทยาศาสตร์  Garcinia dulcis (Roxb.) Kurz (บ้าง...

มะหาด

มะหาด

ชื่อสามัญ  Lok Hat ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. (ชื่อพ้องว...

มะเกลือ

มะเกลือ

ชื่อสามัญ  Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร์  Diospyros mollis Griff. วงศ์ ...

มังคุด

มังคุด

ชื่อสามัญ :  Mangosteen ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Garcinia mangostana Linn. ...

ยอบ้าน

ยอบ้าน

ชื่อสามัญ : Great morinda, Tahitian noni, Indian mulberry, Beach mulberry หรือจะเรียกตามแหล่...

ยอป่า

ยอป่า

ชื่อสามัญ : - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda coreia Ham. วงศ์ : RUBIACEAE ชื่...

ยูคาลิปตัส

ยูคาลิปตัส

ชื่อสามัญ : Blue gum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eucatyptus glopulus Labill ชื่อท้อ...

สมอไทย

สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia chebula Retz. วงศ์ : COMBRETACEAE ชื่อท้องถิ...

สะเดา

สะเดา

ชื่อสามัญ : Neem Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A. Juss. (Varsiamensis Valeton)...

สะแกนา

สะแกนา

ชื่อสามัญ Bushwillows, Combretums ชื่อวิทยาศาสตร์ Combretum quadrangulare Kurz. (ชื่อ...

สัก

สัก

ชื่อสามัญ : Teak ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tectona grandis L.f. วงศ์ : VERBE...

ส้มป่อย

ส้มป่อย

ชื่อสามัญ Soap Pod ชื่อวิทยาศาสตร์ Acacia concinna (Willd.) DC. (ชื่อพ้องวิ...

หว้า

หว้า

ชื่อสามัญ : Jambolan Plum, Java Plum, Black Poum, Black Plum ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygi...

หูกวาง

หูกวาง

ชื่อสามัญ : Bengal Almond, Almond, Sea Almon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Treminalia catappa Linn ...

ฮ่อม

ฮ่อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Baphicacanthus cusia (Nees) Bremek Zstrobilanthes flaccidfolius (Nees) Imlay วงศ...

เพกา

ชื่อสามัญ  Broken Bones Tree, Damocles tree, Indian trumpet flower ชื่อวิทยาศาสตร์  O...

แกแล/เข

กาแล/เข

ชื่อสามัญ Cockspur thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner (ชื่อ...

 

บัญชีตารางสีย้อมที่ได้มาจากวัสดุธรรมชาติและการเลือกใช้สารช่วยติดสี

สีที่ได้จากธรรมชาติ

ส่วนที่ให้สี

สารช่วยติดสี

สีที่ได้จากการย้อม

กระถินณรงค์

ใบ

สารส้ม

น้ำด่าง

น้ำตาลอ่อน (สีเนื้อ)

น้ำตาล

กระโดน

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

กล้วยน้ำว้า

กาบหุ้มลำต้น

สารส้ม

ชมพูอ่อนอมน้ำตาล

กอกกัน

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

แก/ สะแก/ สะแกนา

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

แก้ว ดอกแก้ว

ใบ

จุนสี

เขียวตองอ่อน

กรรณิการ์/ ปาริชาติ/

สบันงา

ดอกส่วนที่เป็นสีส้ม

(ตากแห้ง)

สารส้ม

ส้ม

เข

แก่น ลำต้น

สารส้ม

เหลืองทองเข้ม

ขนุน

แก่น ลำต้น

ไม่ใช้สารช่วยติดสี

ใช้สารส้มหลังการย้อมสี

เหลืองอมส้ม

เหลืองทอง

ขี้เหล็ก

ใบ

ไม่ใช้สารช่วยติดสี

ใช้สารส้มหลังการย้อมสี

ใช้น้ำด่าง หลังการย้อมสี

เหลืองอมเขียว

เหลืองอ่อน

เหลืองอ่อน

ขมิ้น

หัว

น้ำด่าง

เหลือง

ครั่ง

รัง ขี้ครั่ง

น้ำมะขามเปียก + เกลือ

แดงเข้ม

คำแสด/ คำเงาะ/ คำไทย

ผลและเมล็ด

สารส้ม

หมักโคลน

ส้มอมเหลือง

เทาเข้ม

คูณ/ ราชพฤกษ์

ฝักคูณสด

สารส้ม

น้ำปูนใส

กากี

น้ำตาลแดง

มะกอกไทย

เปลือกลำต้น

สารส้ม

น้ำตาลชมพู

มะพูด/ ประโหด

เปลือก

สารส้ม

ใช้น้ำด่าง หลังการย้อมสี

เหลืองอ่อน

เหลืองทอง

มะพร้าวแก่

เปลือก

ไม่ใช้สารช่วยติดสี

น้ำสนิมเหล็ก/ โคลน

น้ำตาล

น้ำตาลเข้ม

มะพร้าวอ่อน

เปลือก

ไม่ใช้สารช่วยติดสี

น้ำสนิมเหล็ก/ โคลน

น้ำตาลชมพูอ่อน

เทาอมม่วง

มะเกลือ

ผล

น้ำด่าง + โคลน

ดำ

มะขาม

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

มะยม

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

มะม่วงแก้ว

เปลือก

สารส้ม

น้ำมะขามเปียก

จุนสี

เหลืองอมน้ำตาล

น้ำตาลส้ม

น้ำตาลเขียว

มะม่วงแก้ว

ใบ

สารส้ม

จุนสี

เหลืองอมน้ำตาล

เขียวขี้ม้า

มังคุด

เปลือก

น้ำสนิมเหล็ก

จุนสี

สารส้ม

น้ำตาล

น้ำตาลแดง

แดงอมชมพู

ตะขบไทย

ใบ

สารส้ม

เหลืองน้ำตาล

ตะแบก

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

เทียนกิ่ง

ใบ

ใช้สารส้มขณะย้อม

ใช้สารส้มหลังย้อม

เหลือง

เขียว

เทียนทอง

ใบ

ใช้สารส้มหลังย้อม

เหลือง

ฉำฉา, จามจุรี

ดอก

เกลือ

นวลอมชมพู

คราม

ใบ

น้ำด่าง + ใบโมง (ชะมวง)

น้ำเงิน

งิ้วผา

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

ชงโคนา

ใบ

สารส้ม

เหลืองเขียว

ทองกวาว/ ทองธรรมชาติ

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

ประดู่บ้าน ประดู่ลาย

เปลือก

สารส้ม

จุนสี

น้ำตาลเหลือง

น้ำตาลแดง

ยอป่า

ราก

ใบ

สารส้ม

สารส้ม

ส้ม

เหลืองอมน้ำตาล

ปีบ

เปลือก

สารส้ม

เหลือง

ฝรั่ง

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาล

พะยอม

เปลือก

สารส้ม

น้ำตาลเหลือง

พุทรา

เปลือก

สารส้ม

เขียว

สีเสียด

ก้อนยางสีเสียด

สารส้ม

น้ำตาล น้ำตาลแดง

ยูคาลิปตัส

ใบ

สารส้ม

เหลืองอมเขียว

หมากลิ้นฟ้า

เปลือก

สารส้ม

เหลือง

ส้มป่อย

ใบ

สารส้ม โคลน

เหลืองเขียว เขียวขี้ม้า

สะเดา

ใบ

สารส้ม

สนิมเหล็ก

เขียวอ่อน

เทา

สบู่เลือด/ สบู่แดง

ใบ

จุนสี

สารส้ม

เขียวมะกอก

เขียว

หูกวาง

ใบ

สารส้ม น้ำบาดาล

จุนสี

เขียว เขียวไพร

เขียวอมน้ำตาล

ฝางแดง

แก่น

สารส้ม

ใช้น้ำปูนใสหลังย้อม

ชมพู แดง

ม่วงอ่อน

สาบเสือ/ เบญจมาศ/

ผักคราด/ ยี่สุ่นเถื่อน/

รำเคย

ใบ

สารส้ม

เหลืองอมเขียวน้ำตาล

นนทรี/ อะราง

เปลือก กิ่ง

ไม่ใช้สารช่วยติดสี

ใช้สารส้มหลังการย้อมสี

โคลน/ น้ำสนิมเหล็ก

ส้ม

น้ำตาลเหลือง

น้ำตาลดำ

ดินแดง

เนื้อดินแดง

ไม่ระบุ

แดงอิฐ

โคลน

โคลน

ไม่ระบุ

เทาอ่อน เทาเข้ม

สัก

ใบ

สารส้ม

จุนสี

ส้มอ่อน น้ำตาลอ่อน

เขียวขี้ม้า

สุพรรณิการ์

แก่น

สารส้ม

เหลืองทอง

สมอ

เปลือก

สารส้ม

จุนสี

น้ำตาลออกเหลือง

น้ำตาลออกเขียวเข้ม

(ที่มา : เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอด้วยสีย้อมธรรมชาติ

          ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ โดยกองเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์อุปโภค กรมวิทยาศาสตร์บริการ)