The Water Quality Survey of Mae Chan Basin at Chiang Rai Province

Waraporn Kitchainukul, Tepwitoon Thongsri, Natawan Thipvisaid, Wasan Tirapitayanon, Kanya Muangkaew, Jirachatr Srisane, Veerapat Thonganan

Abstract


Mae-Chan Basin is one of the important water resources in Chiang-Rai Province. It was used as raw water to produce tap water and to be fish conservative area; therefore, it is necessary to study Mae-Chan water quality. The area of this study was divided into 3 parts. First part is the beginning of Mae-Chan Basin. Next, is the middle part and the last part is the end of Mae-Chan Basin. The aim of the study is to focus on changing of water quality of Mae-Chan Basin. The results showed that Mae-Chan Basin was Nitrogen polluted because all study area found Nitrate concentration between 9 and 12 mg/L while the standard limit is 5 mg/L. However, other parameters showed that water quality type 2 at the beginning part of Mae-Chan Basin was classified. The middle part of study area, where it passed through communities, BOD and Total Coliform Bacteria were increased and type 5 was classified. Decreasing of BOD and Total Coliform Bacteria was found at the end of Mae-Chan Basin, thus type 4 was classified.

 

บทคัดย่อ


ลุ่มน้ำจันเป็นแหล่งน้ำที่สำคัญแหล่งหนึ่งของจังหวัดเชียงราย เป็นแหล่งน้ำที่ใช้ในการผลิตน้ำประปา และเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์ปลาน้ำจืดที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ด้วยเหตุนี้การสำรวจคุณภาพของแหล่งน้ำ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งการสำรวจคุณภาพแหล่งน้ำของลุ่มน้ำจันครั้งนี้แบ่งพื้นที่ในการศึกษาเป็นบริเวณต้นน้ำ กลางน้ำ และท้ายน้ำ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำ ตลอดลำน้ำ ในช่วงเวลาต่างๆ ผลการศึกษาพบว่า ลุ่มน้ำ จันมีการปนเปื้อนของไนโตรเจน เนื่องจากทุกจุดเก็บตัวอย่างมีปริมาณไนเตรทอยู่ในช่วง 9-12 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเกินกว่าค่ามาตรฐานที่หนดไว้ที่ 5 มิลลิกรัมต่อลิตรแต่ในพารามิเตอร์อื่นๆ ที่ใช้เป็นตัวกำหนดคุณภาพประเภทของแหล่งน้ำ พบว่าบริเวณต้นน้ำมีคุณภาพน้ำจัดเป็นประเภทที่ 2 บริเวณกลางน้ำที่ไหลผ่านชุมชน พบว่า มีค่าบีโอดี ( BOD) และค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) สูงขึ้นอยู่ในระดับคุณภาพแหล่งน้ำประเภทที่ 5 และบริเวณท้ายน้ำพบว่า ปริมาณบีโอดีและปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดลดลง คุณภาพน้ำจัดอยู่ในประเภทที่ 4


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.