Calibration of volumetric pipettes using a prototype of a high accuracy pipette calibration set

Acharawan Wattanahuttakum, Weerachai Variyart, Boontham Limpiyapun

Abstract


The calibration procedure used to determine the volume of measuring laboratory glassware was generally guided in the international standard. However, a measurement error was possibly occurred if the position of the lowest point of the meniscus was not horizontally tangent to the plane of the upper edge of the graduation line. In this research, a semi-automated pipette calibration set designed and developed by Mass and Volume Laboratory under the Department of Science and Service (DSS) was used for pipette calibration. The use of this prototype device was aimed to reduce the human error from reading meniscus and improve measurement repeatability. Two experiments were investigated. One was to determine the delivery time of pipettes and the other was to measure the actual volume of pipettes at the standard reference temperature of 20ํC. The results obtained from using the conventional method and the pipette calibration set were compared. For testing of the delivery time, the results from both manners were almost the same and they were within the limits specified in the international standard. For the volume determination,it was found that the use of the prototype set provided the satisfactory performance as confirmed by the En number less than or equal to 1 (En number ?1). This value was calculated using the measurement values from the DSS laboratory and the reference value from laboratory accredited by DAkkS and Thailand accreditation body according to ISO/IEC 17025.

 

บทคัดย่อ


โดยทั่วไปวิธีการสอบเทียบเครื่องแก้ว ปริมาตรจะเป็นไปตามเอกสารมาตรฐาน อย่างไรก็ตามผลการวัดอาจผิดพลาดได้เนื่องจากการปรับระดับท้องน้ำหรือส่วนโค้งล่างสุดของ meniscus ไม่อยู่บนขีดบอก  ปริมาตรของปิเปตต์ งานวิจัยนี้ได้นำเอาชุดสอบเทียบปริมาตรของปิเปตต์ที่ห้องปฏิบัติการสอบเทียบด้านมวลและปริมาตรของกรมวิทยาศาสตร์บริการที่ได้ออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือมาตรฐานสำหรับการสอบเทียบเครื่องแก้วชนิดปิเปตต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดความผิดพลาดที่มาจากการวัดของผู้ปฏิบัติงาน (human error) ทำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถอ่านระดับ meniscus ได้ตรงตำแหน่งเดิมหรือใกล้เคียงกับตำแหน่งเดิม ห้องปฏิบัติการดำเนินการทดสอบ 2 ส่วน คือ การหาเวลาการไหลของของเหลวออกจากปิเปตต์ (delivery time) และการหาค่าปริมาตรของเครื่องแก้วที่อุณหภูมิอ้างอิง 20 องศาเซลเซียส เพื่อเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างการใช้วิธีสอบเทียบแบบเดิมและใช้ชุดต้นแบบ ผลการทดสอบพบว่าเวลาการไหล (delivery time) ที่วัดด้วยวิธีการสอบเทียบแบบเดิมและการใช้วิธีสอบเทียบโดยใช้ชุดต้นแบบที่นั้นยังคงให้ค่าใกล้เคียงกันและอยู่ในเกณฑ์การยอมรับที่กำหนดไว้ และการหาค่าปริมาตรของปิเปตต์จากการใช้ชุดต้นแบบนั้นให้ผลการวัดเป็นที่น่าพอใจ ซึ่งยืนยันได้จากการประเมินผลด้วยการใช้ En number ที่พบว่า En number ? 1 ซึ่งเป็นค่าที่ได้จากการเปรียบเทียบผลการวัดกับค่าอ้างอิงมาตรฐานจากหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจาก DAkkS และจากห้องปฏิบัติการที่ให้ค่าอ้างอิงด้านเครื่องแก้วและได้รับการรับรองตาม ISO/IEC 17025 ของประเทศไทย


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.