Method validation for determination of sucralose in beverage by high performance liquid chromatography การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบหาปริมาณซูคราโลสในเครื่องดื่ม โดยเทคนิคโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง

Nantida Jitkaew, Savarin Sinaviwat

Abstract


การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการทดสอบความใช้ได้ของวิธี การทดสอบปริมาณซูคราโลสในเครื่องดื่มซึ่งดัดแปลงวิธีทดสอบจากวิธีมาตรฐาน BS EN 16155:2012 Foodstuffs - Determination of sucralose - High performance liquid chromatographic method ได้ทำการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธี โดยมีการศึกษาช่วงความเป็นเส้นตรงของวิธีวิเคราะห์พบว่ามีความเป็นเส้นตรงอยู่ในช่วง 0 - 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าขีดจำกัดในการตรวจพบและขีดจำกัดในการวัดเชิงปริมาณของการตรวจวัดเท่ากับ 4.0 และ 15.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามลำดับ การศึกษาความแม่นและความเที่ยงของวิธีโดยใช้ตัวอย่างที่เติมสารละลายมาตรฐาน 3 ระดับความเข้มข้น (25, 250, 2000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) พบว่ามีค่าร้อยละกลับคืนอยู่ในช่วงร้อยละ 92.0 – 101.6, 98.8 – 99.4 และ98.0 – 99.8 ตามลำดับ และความเที่ยงประเมินจากค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ที่แสดงด้วยค่า %RSDr เท่ากับร้อยละ 3.799, 0.169 และ0.586 ตามลำดับ ค่า HORRAT  เท่ากับ 0.824, 0.052 และ0.246 ตามลำดับ ซึ่งค่าร้อยละกลับคืน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ และค่า HORRAT อยู่ในเกณฑ์การยอมรับและเป็นไปตามข้อกำหนดของ EURACHEM/CITAC Guide: 2012 รวมทั้งได้ประเมินค่าความไม่แน่นอนขยายของการทดสอบซูคราโลสในเครื่องดื่ม พบว่ามีค่าความไม่แน่นอนคิดเป็นร้อยละ 3.7 ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (k=2) นอกจากนี้ได้ทำการเก็บตัวอย่างที่ขายในท้องตลาดจำนวน 30 ตัวอย่าง มาทำการทดสอบตามวิธีที่ผ่านการทดสอบความใช้ได้แล้ว พบว่า ตัวอย่างทั้งหมดนี้มีปริมาณซูคราโลสอยู่ในช่วงไม่พบหรือน้อยกว่า 4.0 ถึง 172.7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าวิธีการทดสอบนี้เหมาะสมกับการใช้งานตามวัตถุประสงค์

Method validation for determination of sucralose in beverage by high performance liquid chromatography

The determination of sucralose in beverages was performed and validated by the modified standard method based on BS EN 16155:2012 Foodstuffs - Determination of sucralose - High performance liquid chromatographic method. The linear calibration curve was obtained in concentrations ranging from 0 to 400 mg/L. The limit of detection (LOD) and the limit of quantitation (LOQ) were 4.0 and 15.0 mg/kg, respectively. The precision and accuracy studies were performed by spiking 3 concentration levels in the samples (25, 250, and 2,000 mg/kg). The recoveries were obtained from 92.0 to 101.6%, 98.8 to 99.4% and 98.0 to 99.8%, respectively. The precision calculated as a relative standard deviation of repeatability (%RSDr) found good repeatability at 3.799%, 0.169%, and 0.586%. The HORRAT values were 0.824, 0.052 and 0.246, respectively. The percent recovery, precision, and HORRAT value were acceptable and complied with the requirement of EURACHEM/CITAC Guide: 2012. The percentage of expanded uncertainty was 3.7% at a 95% confidence interval (k=2). Moreover, thirty samples from local markets were analyzed following this validated method and found that sucralose concentration ranged from not detected or less than 4.0 to 172.7 mg/kg. The result of this study showed the modified methods were fit for the intended use.


Keywords


Sucralose; Beverage; High performance liquid chromatography; ซูคราโลส; เครื่องดื่ม; โครมาโตกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง

Full Text:

PDF

References


Sucralose สารให้ความหวานที่มีรสชาติคล้ายน้ำตาลที่สุด [ออนไลน์]. พฤศจิกายน 2563. เข้าถึงจาก: https://www.tinnakorn.com/articles/sucralosesweetener [อ้างถึงวันที่ 24 มกราคม 2565].

ซูคราโลส [ออนไลน์]. 2560. เข้าถึงจาก: https://www.disthai.com/17268970/ซูคราโลส [อ้างถึงวันที่ 24 มกราคม 2565].

THE JOINT FAO/WHO EXPERT COMMITTEE ON FOOD ADDITIVE (JECFA). Sucralose [online]. 1990. Available from: https://www.fao.org/fileadmin/user_upload/jecfa_additives/docs/Monograph1/Additive-444.pdf [viewed 2021-10-21].

RODERO A.B, L.S. RODERO, and R. AZOUBEL. Toxicity of sucralose in humans: a review. International Journal of Morphology. 2009, 27(1), 239-244.

AMERICAN PREGNANCY ASSOCIATION. Artificial sweetener and pregnancy [online]. 2015. Available from: https://americanpregnancy.org/healthy-pregnancy/is-it-safe/artificialsweeteners-and-pregnancy [viewed 2022-01-24].

กระทรวงสาธารณสุข. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 389 (พ.ศ.2561) เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 5). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 178 ง (วันที่ 25 กรกฏาคม 2561). หน้า 521-523.

กระทรวงสาธารณสุข. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 418 (พ.ศ.2563) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137 ตอนพิเศษ 237 ง (วันที่ 8 ตุลาคมคม 2563). หน้า 534-536.

BRITISH STANDARD INSTITUTION (BSI). BS EN 16155:2012. Foodstuffs-Determination of sucralose-High performance liquid chromatographic method. London, UK: British Standard Institution (BSI), 2012. 16 p.

EURACHEM. The fitness for purpose of analytical methods. A laboratory guide to method validation and related topics. 2nd ed. [online]. 2014. Available from: https://www.eurachem.org/images/stories/Guides/pdf/MV_guide_2nd_ed_EN.pdf [viewed 2021-10-21].

ASSOCIATION OF OFFICIAL ANALYTICAL CHEMISTS. Appendix F: Guidelines for standard method performance requirements. [online]. 2016. Available from: http://www.eoma.aoac.org/app_f.pdf [viewed 2021-10-29].

ELLISON S.L.R. and A. WILLIAMS. EURACHEM/CITAC Guide CG4: Quantifying uncertainty in analytical measurement. 3rd ed. [online]. 2012. Available from: https://www.eurachem.org/images/stories/Guides/pdf/QUAM2012_P1.pdf [viewed 2021-11-10].

กิตติมา โสนะมิตร์, สุธาทิพย์ วิทย์ชัยวุฒิวงศ์ และญาณิต หาญทวีทรัพท์. การทดสอบความถูกต้องของวิธี วิเคราะห์ปริมาณซูคราโลสในเครื่องดื่มโดยเทคนิค UPLC-ELSD. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. 2562, 61(3), 107-120.

SANG, L. Optimization of determination of sucralose in drink by HPLC. Journal of Economic Science Research [online]. 2019, 2(3), 50-54. Available from: http://doi.org/10.30564/jesr.v2i3.1023 [viewed 2021-11-10].


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.