Development of the antioxidant beverage from colored rice and juice การพัฒนาเครื่องดื่มที่มีสารต้านอนุมูลอิสระจากข้าวสีเข้มผสมน้ำผลไม้

Kartoon Pengprom, Janchay Yossaksri, Janejira Yupanead, Siriwan Jumnaksan

Abstract


การพัฒนาเครื่องดื่มที่มีสารต้านอนุมูลอิสระซากขาวสีเข้มเผสมน้ำผลไม้นี้ให้เลือกใช้ข้าวไรซ์เบอร์รข้าวสังข์หยด บีทรูท และ ฟักข้าวเป็นวัตถุดิบ โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณน้ำที่เหมาะสมในการสกัดข้าว อัตราส่วนของน้ำข้าวและน้ำ ผลไม้ ปริมาณสารให้ความคงตัวที่เหมาะสม และกระบวนการในการฆ่าเชื้อ พบว่า ปริมาณน้ำที่เหมาะสมในการสกัดข้าว โดยใช้น้ำ 20 เท่าของน้ำหนักข้าว จะได้น้ำข้าวที่มีลักษณะเหมาะสม คือ ไม่ขึ้นหรือหนีตเกินไป อัตราส่วนของน้ำข้าวะน้ำผลไม้ เท่ากับ 75:25 สําหรับน้ำข้าวไรซ์เบอร์รี่ อัตราส่วนของน้ำข้าวไรซ์เบอร์รี่น้ำบีทรูท เท่ากับ 75:25 และน้ำข้าวสังข์หยด อัตราส่วน ของน้ำข้าวสังข์หยด:น้ำบีทรูท เท่ากับ 80:20 ให้ค่าโฮแรศ (CRAC) สูงสุด คือ 176 และ 143 umo, TE/100 ตามลําดับ ปริมาณ สารให้ความคงตัวที่เหมาะสมกับเครื่องดื่มข้าวผสมน้ำผลไม้ คือ เพศดิน (Pectin) ร้อยละ 0.1 ร่วมกับคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (CarbCxymethyl Cellulose, CMC) ร้อยละ 0.2 ทําให้เครื่องดื่มเป็นเนื้อเดียวกัน การแยกชั้นลดลง กระบวนการฆ่าเชื้อด้วยหม้อ นึ่งความฝัน ที่ 5 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (110 องศาเซลเซียส, oC) นาน 25 นาที และเครื่องฆ่าเชื้อชนิดฉีดพ่นไอน้ำร้อน ที่อุณหภูมิ 110 oC นาน 25 นาที ทําให้เครื่องดื่มมีอายุการเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องใต้ไม่น้อยกว่า 6 เดือน สําหรับคุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ง หน่วยบริโภค (180 มิลลิลิตร) พบว่า เครื่องดื่มชาวไรซ์เบอร์รี่ สูตร R2 ซึ่งประกอบด้วย น้ำซาวะน้ำบีทรูท ในอัตราส่วน 75:25 ให้พลังงานน้อยกว่าเครื่องดื่มข้าวสังข์หยด สูตร S2 ซึ่งประกอบด้วย น้ำซาวะน้ำบีทรูท ในอัตราส่วน 75:25

 

Development of the antioxidant beverage from colored rice and juice

This research developed of the antioxidant beverage from colored rice and juice resources, including Riceberry rice, Sangyod rice, beetroot, and gac. The research aimed to optimize water content for rice extraction, examine the appropriate ratio of rice extract and fruit juice, determine a suitable amount of stabilizer, and optimize the sterilization process. The result demonstrated that the optimum water content for extracting rice was using water 20 times the rice weight, which obtained rice extract with Suitable viscosity. The appropriate ratio of rice extract:juice is 75-25 for Riceberry rice extract:beetroot juice and 80:20 for Sangyod rice extract:beetroot juice, based on the presented highest Oxygen Radical Absorbance Capacity (ORAC) value, 176 and 143 umol TE/100 g, respectively. The stabilizer Suitable for healthy drink was 0.1% pectin with 0.2% carboxymethyl cellulose (CMC), obtaining a homogeneous drink and decreased phase separation. The sterilization process with an autoclave at 5 psi (110 °C) for 25 minutes and spraying hot steam at 110 °C for 25 minutes ensured a shelf life of at least 6 months at room temperature. The nutritional value per serving (180 ml) was that the Riceberry rice drink R2 formula, which contains rice water:beetroot juice at a ratio of 75:25 provides less energy than Sangyod rice drink formula S2, which contains rice water:beetroot juice in a ratio of 75:25.


Keywords


Rice drink; Antioxidant drink; Healthy drink; เครื่องดื่มข้าว; เครื่องดื่มต้านอนุมูลอิสระ; เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ

Full Text:

PDF Remote

References


สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรมเทรนด์สุขภาพยังมาแรงในปี 62 กลุ่มอาหารเพื่อสุขภาพเป็นสินค้าขายดี [ออนไลน์]. 2561. [อ้างถึงวันที่ 25 ตุลาคม 2563]. เข้า ถึงจาก: https://cheechongruay.smartsme.co.th/content/23337

ANDREW WEIL, M.D. ORAC: Scoring Antioxidants? [online]. 2010. [viewed 28 December 2019). Available from: https://www.drweil.com/ vitamins-supplements-herbs/vitamins/ orac-scoring-antioxidants

JORGUSTIN, K. ORAC Value | Top 100 High Antioxidant Foods - Berries - Spices - Herbs. [online]. 2017. [viewed 18 July 2020]. Available from: https://modernsurvivalblog.com/health/high-orac-value-antioxidant-foods-top-100

สุชาดา มานอก และปวีณา ลิ้มเจริญ. การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH, ABTS และ FRAP และ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัด สมุนไพรในตํารับยาหอมเทพจิตร. Advanced Science. 2015, 15(1), 106-117.

บทบรรณาธิการ. วิธีการกําหนดหาการออกฤทธิ์ของตัวต้านออกซิเดชั่นทั้งหมด. Naresuan Phayao Journal 2016, 9(3), 25-30.

FLOEGEL, A., et al. Comparison of ABTS/DPPHassays to measure antioxidant capacity in popular antioxidant-rich US foods. Journal of Food Composition and Analysis. 2011, 24(7), 1043-1048.

R, SOMPONG, et al. Physicochemical and antioxidative properties of red and black rice varieties from Thailand, China and Sri Lanka.Food Chemistry. 2011, 124(1), 132-140.

PEDRO, A.C., D. GRANATO and N.D. ROSSO. Extraction of anthocyanins and polyphenols from black rice (Oryza sativa L.) by modeling and assessing their reversibility and stability. Food Chemistry, 2016, 191, 12-20.

สุรพงษ์ พินิจกลาง และรัชนี ไสยประจง. การผลิตเครื่องดื่มซุปเปอร์เบอรี่ที่มีสารสกัดแอนโธไซยานินจากข้าวหอม üa. Agricultural Science Journal. 2018, 49(2) (Suppl.), 25-28.

ศูนย์ข้อมูลข้าวตลาดเฉพาะ กรมการข้าว, ข้าวไรซ์เบอร์รี่ [ออนไลน์]. [อ้างถึงวันที่ 21 กันยายน 2563]. เข้าถึงจาก: https://www.thairicedb.com/rice-detail.php?id=15.

ศูนย์ข้อมูลข้าวตลาดเฉพาะ กรมการข้าว, ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง [ออนไลน์]. [อ้างถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563]. เข้าถึงจาก: https://www.thairicedb.com/rice-detail.php?id=1

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.). เครื่องดื่มสกัดจากปลายข้าว [ออนไลน์]. 2558. [อ้างถึงวันที่ 26 มกราคม 2564]. เข้าถึงจาก: https:// waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2015/2015091 1-Technology-show%202-2558-Food-Beverage-15.pdf

จุฑามาศ ถิระสาโรช และเฉลิมพล ถนอมวงค์, การผลิตเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากข้าวหอมนิล, KKU Science Journal, 2015, 43(3), 395-402


Refbacks

  • There are currently no refbacks.


Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.